รายละเอียดคอร์ส


เรียนรู้เรื่องการใช้ Generative AI ในการช่วยทำงานวิจัย เพื่อให้เราสามารถพัฒนาธุรกิจให้มีความสามารถในการแข่งขันและเติบโตได้อย่างต่อเนื่องต่อไป

การทำงานวิจัยสามารถช่วยให้การพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการตรงกับความต้องการของตลาดได้มากขึ้นและยังเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยในการกระตุ้นให้เกิดการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆในธุรกิจ การเกิดขึ้นของ Generative AI ทำให้การเรียนรู้และการค้นคว้าทำได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น และ Generative AI ยังช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล รวมถึงช่วยในการออกแบบการวิจัยหรือการวางแผนการทำงานเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการเรียนรู้ในเรื่องของการใช้ Generative AI ในการช่วยทำงานวิจัยเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องเรียนรู้ เพื่อนำไปพัฒนางานวิจัยที่จะเป็นประโยชน์ในการทำธุรกิจ เพื่อให้เราสามารถพัฒนาธุรกิจให้มีความสามารถในการแข่งขันและเติบโตได้อย่างต่อเนื่องต่อไป

สิ่งที่คุณจะได้เรียนรู้
- Introduction to prompt engineering with ChatGPT
- Generative AI & Other AI Tools for Research

ผู้เรียนต้องมีความรู้อะไรมาก่อนหรือไม่
- คอร์สนี้เหมาะสำหรับทุกคน ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ด้านใดมาก่อนก็เรียนได้

วิชาที่แนะนำให้เรียนก่อน
Research Methodology in Applied Artificial Intelligence

ภาษาที่ใช้
- ภาษาอังกฤษ

ประเภทของคอร์ส
(C) คอร์สนี้เป็นคอร์สบังคับ (Core Course) ของหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา Artificial Intelligence and Internet of Things (International Program) ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และ SkillLane

การคำนวณเกรด
คอร์สนี้ประกอบด้วย 1. แบบทดสอบ (Quiz) คิดเป็น 40% ของเกรด และ 2. ข้อสอบไฟนอล (Final Exam) คิดเป็น 60% ของเกรด โดยการตัดเกรดเป็นดังนี้

A 90-100
A- 85-89.99
B+ 80-84.99
B 75-79.99
B- 70-74.99
C+ 65-69.99
C 60-64.99
D 50-59.99
F 0-49.99

ประวัติวิทยากร
อาจารย์ รศ.ดร.วรุธ ปานนักฆ้อง
ปัจจุบันอาจารย์วรุธดำรงตำแหน่งเป็นอาจารย์ประจำสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มีความเชี่ยวชาญทางวิชาการหลากหลายด้านได้แก่ Artificial intelligence in industrial applications, Time series forecasting, Computer vision for industry, Data mining, Machine learning, Production planning and optimization, Discrete-event systems simulation, Vehicle routing and scheduling, Logistics and supply chain management

อาจารย์วรุธจบการศึกษาระดับปริญญาตรี Industrial Engineering (1st Class Honors), Sirindhorn International Institute of Technology (SIIT), Thammasat University ปริญญาโท Logistics and Supply Chain Systems Engineering, Sirindhorn International Institute of Technology (SIIT), Thammasat University และปริญญาเอก Knowledge Science, Japan Advanced Institute of Science and Technology, Japan

อาจารย์ ดร.ณัฐพงษ์ แสงเลิศศิลปชัย
ปัจจุบันอาจารย์ณัฐพงษ์ดำรงตำแหน่งเป็นนักวิจัย ทีมวิจัยการวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ด้วยปัญญาประดิษฐ์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)
มีความเชี่ยวชาญในด้าน Text Analytics, Data Analytics, Data Mining

อาจารย์ณัฐพงษ์จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท ด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาเอก ด้าน Engineering & Technology, Sirindhorn International Institute of Technology (SIIT), Thammasat University และ ปริญญาเอก ด้าน Knowledge Science, Japan Advanced Institute of Science and Technology (JAIST), Japan

เนื้อหาของคอร์ส

ผู้สอน


รศ.ดร. วรุธ ปานนักฆ้อง
ไปที่หน้าผู้สอน
  • อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและระบบการผลิตสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • มีความเชี่ยวชาญในด้าน Artificial intelligence in industrial applications, Time series forecasting, Computer vision for industry, Data mining, Machine learning, Production planning and optimization, Discrete-event systems simulation, Vehicle routing and scheduling, Logistics and supply chain management
  • ปริญญาเอก Knowledge Science, Japan Advanced Institute of Science and Technology, Japan
  • ปริญญาโท Logistics and Supply Chain Systems Engineering, Sirindhorn International Institute of Technology (SIIT), Thammasat University, Thailand
  • ปริญญาตรี Industrial Engineering (1st Class Honors), Sirindhorn International Institute of Technology (SIIT), Thammasat University, Thailand

  • ดร.ณัฐพงษ์ แสงเลิศศิลปชัย
    ไปที่หน้าผู้สอน
  • นักวิจัยทีมวิจัยการวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ด้วยปัญญาประดิษฐ์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)
  • มีความเชี่ยวชาญในด้าน Text Analytics, Data Analytics, Data Mining
  • ปริญญาเอก ด้าน Knowledge Science, Japan Advanced Institute of Science and Technology (JAIST), Japan
  • ปริญญาเอก ด้าน Engineering & Technology, Sirindhorn International Institute of Technology (SIIT), Thammasat University, Thailand
  • ปริญญาโท ด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ปริญญาตรี ด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    ไปที่หน้าผู้สอน
  • สถาบันวิชาการชั้นนำของเอเชีย ที่ได้มาตรฐานสากลในการผลิตบัณฑิต การสร้างองค์ความรู้ และการแก้ปัญหาต่าง ๆ
  • ยึดมั่นในคุณธรรมและการรับใช้ประชาชน ดังคำขวัญของมหาวิทยาลัยที่กล่าวว่า เป็นเลิศ เป็นธรรม ร่วมนำสังคม

  • Sirindhorn International Institute of Technology
    ไปที่หน้าผู้สอน
  • Asia's leading institute of technology
  • Established in cooperation with Thammasat University, the Japan Federation of Economic Organizations (KEIDANREN) and the Federation of Thai Industries (FTI)
  • SIIT’s objectives are to produce highly qualified engineers and technologists.
  • tuxsa-Research-Seminar-II-in-Applied-Artificial-Intelligence
    มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

    Research Seminar II in Applied Artificial Intelligence สัมมนาวิจัย 2 เกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ประยุกต์